2013年11月15日星期五

BCBG Power Bandage Skirt: Office Outfit


So we've shown a BCBG bandage skirt weekend casual look and also a bandage skirt party look. Your next would be the office look! I wore this to your workplace on Tuesday and got a variety of compliments. I really like how BCBG bandage skirts is very versatile (pulled down, pulled up, etc)! Just for people who are curious, I currently have 9 Herve Leger dress Online bandage dresses. This number fluctuates every now and then as I trade my dresses; waters unmanned . my collection in constant rotation. But, I do not own any Herve Leger skirts. This is due to the BCBG power skirts are too much like Herve Leger for me to justify acquiring the higher end version. Although, it really is worth mentioning that we now have many girls who definitely prefer Herve Leger to BCBG bandage skirts! Brand-new the BCBG bandage skirt inside of a few colors including: white, black, black with studs, blue, pink, red... I feel like I'm forgetting some... well you find the idea! lol I enjoy these skirts; they have got this type of sexy high end expect to them!
related:                     miu miu online

                             Gucci bags sale

2013年11月6日星期三

rubber

Getah Asli dapat diperdagangkan EPDM Getah dengan meluas hasil daripada usaha-usaha teknikal yang banyak selama Isoprena Getah beberapa tahun. Aplikasi sains tani (biak baka, fisiologi, kawalan penyakit dan lain-lain) telah meningkatkan produktiviti hampir sepuloh kali ganda berbanding dengan import asal Hevea. Penyelidikan SBR 1502 mengenai pemprosesan dan aplikasi Getah Asli telah membantu perusahaan untuk mempertahankan keulungan perusahaan getah Malaysia. Malaysia mula menerajui kemajuan teknikal sejak perusahaan bermula pada awal abad. Industri getah memberi berjuta ringgit setiap tahun untuk menjalankan aktiviti-aktiviti R&D. Harga getah Dana yang dikumpul melalui ses penyelidikan sebanyak 3.85 sen setiap kilogram getah yang dieksport. Ianya digunakan untuk menanggung penyelidikan yang diterajui oleh Lembaga Getah Malaysia. Butadiena getah BR9000

rubber

Harga ekspor karet Indonesia kembali melemah



Medan (ANTARA News) - Harga ekspor karet Indonesia jenis SIR 20 melemah kembali atau tinggal 2,316 dolar AS per kg diduga sebagai dampak melemahnya permintaan di pasar.

"Harga memang mengalami tren menLG Polybutadiene Rubberurun sejak pekan lalu. Harga tanggal 27 September untuk pengapalan Oktober tinggal sebesar 2,316 dolar AS per kg dari sebelumnya posisi 19 September yang sudah sebesar 2,453 dolar AS per kg," kata Sekretaris Eksekutif Gabungan Perusahaan Karet Indonesia (Gapkindo) Sumut, Edy Irwansyah, di Medan, Senin.

Harga yang turun itu merupakan dampak permintaanरबड़ मूलdari negara konsumsi utama yakni China, Amerika Serikat dan Jepang. Meski ada permintaan yang menguat dari India nyatanya belum mampu mendongkrak harga.

Edy menyebutkan, turunnya harga jual di pasar internasional membuat harga bahan olah karet (bokar) di pabrikan otomatis turun juga. Harga bokar di pabrikan per 27 September mencapai Rp22.578--Rp24.578 per kg dari sebelumnya sebesar Rp22.960--Rp24.960 per kg.

Permintaan yang melemah itu sendiri sudah terlihat sejak awal tahun sehingga volume ekspor kaSBR 1500ret SumutEPDM रबड selama Januari--Agustus turun 0,81 persen dibandingkan periode sama 2012 atau tinggal 291.446.949 kilogram.

Periode sama 2012, volume ekspor karet sudah sebanyak 293.824.967 kilogram.

Petani karet Sumut, K Siregar menyebIsoprene रबड़ produksi getah masih saja ketat karena meski musim hujan tetapi justru kemarau masih melanda.

"Harga jual juga masih stabil di posSBR 1502isi rendah atau di bawah Rp10.000 per kg dan itu membuat petani tetap saja susah," katanya.

rubber

エチレン?プロピレンゴムは、エチレンとプロピレンの共重合体であるEPM(=EPR)と ブタジエンゴム BR9000 、さらに少量の第3成分を含む三元重合体のEPDM(=EPT)の2種類があります。一般にEPMは、過酸化物架橋材などにより、工業用ゴム製品に用いられてはいますが、現在では、ポリフロピレンなど汎用樹脂に、添加することにより、耐衝撃性改質材として樹脂ブレンド用に多量に用いられています。自動車用EPDMゴムバンパーなどがあります。一方、EPDMは、非共役ジエンモノマーである第3成分を共重合することで硫黄架橋(加硫)が可能で、工業的に広く使用されています。これらのEPMおよびEPDMの特徴の多くは、同じく非ジエン系非極性ゴムであるブチルゴム(IIR)に類似しています。耐オゾン性、耐熱老化性はブチルゴム(IIR)よりも若干優れており イソプレンゴム 、耐候性、耐寒性、耐極性、溶剤性、耐無機薬品性にもすぐれ、されにブチルゴム(IIR)にくらべてはるかに反発弾性がよいので ベトナムゴム3Lの 、自動車用ゴム製品、工業用ゴム製品、建築用ゴム製品など、その用途は、かなり広く、電気的性能に関してもブチルゴ販されているゴムの中で最も小さいのも特徴の1つです。ただし、一般の鉱油には、全く耐性がありません。グレードによっては、耐スチーム性が非常によいものもあり、耐熱性のよいふっ素ゴム(FKM)、シリコーンゴム(VMQ)がスチーム中では、劣化が早いのと対照的で相当の高温まで使用可能なものまであります ゴム価格 。ム(IIR)より優れていますので、高圧ゴム電線や高圧ゴムケーブルなどにも使用されています。現在では、SBR、BRに次ぐ生産量を誇る合成ゴムとなっています。また、比重が、市

rubber

In 1879, the Frenchman Gustave Bouchardat (1842-1918) created one form of synthetic rubber, producing a polymer of isoprene in a laboratory.[citation needed] The expanded use of motor vehicles, and particularly motor vehicle tires, starting in the 1890s, created increased demand for rubber. In 1909, a team headed by Fritz Hofmann, SBR 1502working at the Bayer laboratory in Elberfeld, Germany, also succeeded in polymerizing methyl isoprene (2,3-dimethyl-1,3-butadiene), the first synthetic rubber.[3][4] The Russian scientist Sergei Vasiljevich Lebedev created the first rubber polymer synthesized from butadiene in 1910. This form of synthetic rubber provided the basis for the first large-scale commercial production, which occurred during World War I as a result of shortages of natural rubber. This early form of synthetic rubber was again replaced with natural rubber after the war ended, but investigations of synthetic rubber continued. Russian American Ivan Ostromislensky did significant early research on synthetic rubber and a couple of monomers in the early 20th century.EPDM Rubber Political problems that resulted from great fluctuations in the cost of natural rubber led to the enactment of the Stevenson Act in 1921. This act essentially created a cartel which supported rubber prices by regulating production (see OPEC), but insufficient supply, especially due to wartime shortages, also led to a search for alternative forms of synthetic rubber. By 1925 the price of natural rubber had increased to the point that many companies were exploring methods of producing synthetic rubber to compete with natural rubber.SBR 1712 In the United States, the investigation focused on different materials than in Europe, building on the early laboratory work of Nieuwland. Studies published in 1930 written independently by Lebedev, the American Wallace Carothers and the German scientist Hermann Staudinger led in 1931 to one of the first successful synthetic rubbers,SBR 1500 known as neoprene, which was developed at DuPont under the direction of E.K. Bolton. Neoprene is highly resistant to heat and chemicals such as oil and gasoline, and is used in fuel hoses and as an insulating material in machinery. The company Thiokol applied their name to a competing type of rubber based on ethylene dichloride which was commercially available in 1930.Isoprene Rubber The first rubber plant in Europe SK-1 (from Russian "Synthetic Kauchuk", Russian: СК-1) was established (Russia) by Sergei Lebedev in Yaroslavl under Joseph Stalin'sLG BR 9000 First Five-Year Plan on July 7, 1932.Vietnam 3L Rubber In 1935, German chemists synthesized the first of a series of synthetic rubbers known as Buna rubbers. These were copolymers, meaning the polymers were made up from two monomers in alternating sequence. Other brands included Koroseal, Rubber Pricewhich Waldo Semon developed in 1935, and Sovprene, which Russian researchers created in 1940.[5]

橡胶

线型结构:未硫化橡胶的普遍结构。由于分子量很大,无外力作用下。大分子链呈无规卷曲线团状。当外力作用,撤除外丁苯橡胶1502
发泡橡胶海绵丁苯橡胶1500
发泡橡胶海绵丁苯橡胶1712
力,线团的纠缠度发生变化,分子链发生反弹,产生强烈的复原倾向,这便是橡胶高弹性的由来。三元乙丙橡胶
支链结构:橡胶大分子链的支链的聚集,形成凝胶。凝胶对橡胶的性能和加工都不利。在炼胶时,各种配合剂往往进不了凝胶区,形成局部空白,形成不了补强和交联,成为产品的薄弱部位。顺丁橡胶BR9000
交联结构:线型分子通过一些原子或原子团的架桥而彼此连接起来,形成三维网状结构。随着硫化历程的进行,这种结构不断加强。这样,链段的自由活动能力下降,可塑性和伸长率下降,强度,弹性和硬度上升,压缩永久变形和溶胀度下降。橡胶价格行情
通用型橡胶的来源及应用特点橡胶百科
通用型橡胶的综合性能较好,应用广泛。主要有:①天然橡胶。从三叶橡胶树的乳胶制得,基本化学成分为顺- 聚异戊二烯。弹性好,强度高,综合性能好。②异戊橡胶。全名为顺-1,4-聚异戊二烯橡胶,由异戊二烯制得的高顺式合成橡胶,越南3L橡胶因其结构和性能与天然橡胶近似,故又称合成天然橡胶。③丁苯橡胶。简称SBR,由丁二烯和苯乙烯共聚制得。韩国LG顺丁橡胶按生产方法分为乳液聚合丁苯橡胶和溶液聚合丁苯橡胶。其综合性能和化学稳定性好。④顺丁橡胶。全名为顺式-1,4-聚丁二烯橡胶,简称BR,由丁二烯聚合制得。与其他通用型橡胶比,硫化后的顺丁橡胶的耐寒性、耐磨性和弹性特别优异,动负荷下发热少,耐老化性能好,易与天然橡胶、氯丁橡胶、丁腈橡胶等并用。

ยาง

Sabaays  ความเป็นมาของยางพาราในประเทศไทย
ยางพาราในประเทศไทย

ความเป็นมาของยางพาราในประเทศไทย

ยางพาราเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ำยางที่กรีดจากต้นยางพารา "Hevea Brasiliensis" ต้นยางพาราไม่ใช่พืชพื้นเมืองของไทยแต่มาพร้อมกับอังกฤษที่เข้ามาในเอเชีย โดยได้นำยางพาราจากบราซิลมาทดลองปลูกในศรีลังกาจากนั้นเมื่อเห็นว่าได้ผลดี จึงนำมาปลูกในมลายาที่มีภูมิอากาศคล้ายกับศรีลังกา เพื่อที่จะป้อนให้กับโรงงานอุตสาหกรรมของตน แต่ต้นยางพาราได้เข้ามาปลูกในไทยนั้นเนื่องจากพระยารัษฎานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เห็นว่ายางจะเป็นพืชเศรษฐกิจทำรายได้ให้กับเมืองไทยจึงเริ่มนำเข้ามาปลูกใน ภาคใต้ของไทยเมื่อปี พ.ศ.2443 และพบว่าเป็นพืชที่สามารถสร้างรายได้ได้ดีจึงนิยมปลูกทั่วภาคใต้ ต่อมาก็ได้ขยายไปทางภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือในปัจจุบัน

ความเป็นมาของยางพาราในประเทศไทย

ความสำคัญของยางพาราในฐานะเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ

ไทยเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติอันดับ 1 ของโลกโดยในปี 2545 สามารถผลิตยางธรรมชาติได้ถึง 2.61 ล้านตันโดยมีอินโดนีเซียสามารถผลิตได้เป็นอันดับที่ 2 จำนวน 1.63 ล้านตัน และอินเดียเป็นอันดับ 3 คือ 0.64 ล้านตัน ไทยการส่งออกยางพาราในปี พ.ศ. 2545ประมาณ 2.35 ล้านตัน สามารถทำรายได้จากการส่งออกประมาณ 7 หมื่นล้านบาท ประเทศไทยส่EPDM ยาง วนใหญ่ใช้ยางพาราในอุตสาหกรรมยางรถยนต์ จักรยานยนต์และจักรยาน ยางรัดของ ยางยืด ถุงมือยาง และถุงยางอนามัย

นอกจากความสำคัญของยางพาราดังกล่าวแล้ว ไม้ยางพาราจากต้นยางพารายังมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไม้ของไทย ที่มีมูลค่าการส่งออกปีละประมาณ 2 หมื่นล้านบาทเพราะไม้ยางกลายเป็นวัตถุดิบในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ที่สำคัญ หลังจากที่รัฐบาลไทยมีนโยบายปิดป่าในปี 2532 ชาวสวนยางจะโค่นต้นยางพาราที่มีอายุประมาณ 18-23 ปีที่ให้ผลผลิตน้ำยางต่ำจนไม่คุ้มที่จะกรีดน้ำยางแล้วขายให้โรงงานแปรรูปไม้

การผลิตยางพารา

ยางพาราเป็นพืชที่ปลูกในพื้นที่เขตที่มีฝนตกไม่มากเกินไปหรือไม่น้อยเกินไป และไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่มากเกินไปโดยเฉลี่ยประมาณ 24-27 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ตลอดปี และการคัดเลือกพันธุ์ยางที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและสามารถต้านทานโรคได้ดี จะให้ผลผลิตน้ำยางสูงIsoprene ยาง พันธุ์ยางที่ปลูกในปัจจุบันจะเป็นพันธุ์ยางที่ถูกปรับปรุงพันธุ์โดยสถาบัน วิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เพื่อให้ได้พันธุ์ยางที่เหมาะสมสำหรับแต่ละพื้นที่ ที่เหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศของแต่ละภาค เมื่อคัดเลือกต้นยางและนำมาปลูกแล้วเกษตรกรจะต้องดูแลบำรุงรักษาต้นยางจนถึง อายุที่กรีดน้ำยางสดเมื่อต้นยางมีอายุประมาณ 4-5 ปี และสามารถกรีดต้นยางได้จนกระทั่งต้นยางมีอายุประมาณ 18-23 ปีก็จะขายต้นยางให้กับโรงงานแปรรูปไม้ยางต่อไป

ยางที่ได้จากการกรีดนั้นจะถูกนำไปแปรรูปเป็นน้ำยางข้นหรือยางแผ่น ในประเทศไทยนั้นนิยมทำยางแผ่นเพราะเกษตรกรชาวสวนยางในไทยเป็นสวนขนาดเล็กมี ผลผลิตไม่มากนักเมื่อกรีดยางแล้ว จึงนิยมแปรรูปเป็นยางแผ่นแล้วเก็บไว้จนมากพอที่จะนำไปขายให้กับพ่อค้าหรือ โรงงานรมควันต่อไป ทำให้โครงสร้างทางการผลิตของไทยเป็นยางแผ่นมากกว่ายางชนิดอื่นๆ ถึงแม้ว่าในช่วงปี 2530 ที่มีความต้องการน้ำยางข้นเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากการระบาดของโรคเอดส์ทำให้ ความต้องการใช้ถุงมือยางและ ถุงยางอนามัยเพิ่มขึ้นแต่ก็ยังเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับการผลิตยางแผ่น

การที่ประเทศไทยกลายเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลกนั้น ไม่ใช่เหตุบังเอิญ เป็นเพราะรัฐบาลไทยส่งเสริมให้มีการปลูกและผลิตยาง นอกจากที่ภูมิศาสตร์ของไทยเหมาะกับการปลูกยาง ค่าแรงของไทยก็ไม่สูงเกินไป รัฐบาลไทยได้เห็นความสำคัญของยางพาราได้สนับสนุนการปลูกยางพาราโดยได้ตั้งหน่วยงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับยางพาราคือ

สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ในการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องยาง
องค์การสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ผลิตยาง ค้นคิดผลิตภัณฑ์จากยาง ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับยาง ผลิตภัณฑ์ยาง
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่ช่วยเหลือเกษตรกรโดยการสนับสนุนให้มีปลูกยางพันธุ์ดีทดแทนยาง พันธุ์เก่า สนับสนุนการปลูกยางในพื้นที่ใหม่ โดยมีงบประมาณที่ได้มาจากเก็บอากรจากการส่งอSBR 1502 ยางอกยางพารา
การที่ไทยส่งออกยางธรรมชาติมากกว่าการใช้ภายในประเทศนั้น ทำให้ราคายางของไทยขึ้นอยู่กับปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของโลก ซึ่งปริมาณความต้องการยางธรรมชาติของโลกนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุที่สามารถใช้ทด แทนยางธรรมชาติได้ ซึ่งยางสังเคราะห์นั้นผลิตจากน้ำมันดิบ เมื่อราคาน้ำมันดิบสูงขึ้นส่งผลให้ราคายางสังเคราะห์สูงขึ้น ทำให้ปริมาณความต้องการยางธรรมชาติสูงขึ้น และยางธรรมชาติส่วนใหญ่ถูกใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ซึ่งจะถูกใช้ทดแทน ยางสังเคราะห์ในสัดส่วนที่สูงขึ้น

เทคโนโลยีกับการผลิตยางธรรมชาติของไทย

เทคโนโลยีกับยางธรรมชาติสามารถแบ่งได้ 3 ข้อคือ

เทคโนโลยีที่ช่วยในการปรับปรุงพันธุ์ยางทำให้ยางสามารถให้น้ำยาง มากขึ้น ต้านทานโรคได้มากขึ้น เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์ยางทำให้ประเทศไทยสามารถเป็นผู้นำอันดับ 1 ในการผลิตยางธรรมชาติของโลกทั้งๆที่เนื้อที่เพาะปลูกยางธรรมชาติของไทยมี เพียง 1.43 ล้านเฮกตาร์ ขณะที่อินโดนีเซียมีถึง 3.37 ล้านเฮกตาร์
เทคนิคการกรีดเพื่อให้ได้น้ำยาง (tapping) ไม่ได้เปลี่ยนแปลงจากเดิม เกษตรกรชาวสวนยางในไทยยังคงใช้เทคนิคเดิมในการกรีดยางและใช้แรราคายางพารางงานคนงานใน การกรีดยาง ทำให้ไทยซึ่งมีความได้เปรียบมาเลเซียซึ่งมีประชากรน้อยกว่า ซึ่งหันไปให้ความสนใจในการผลิตน้ำมันปาล์มมากกว่า
เทคนิคการแปรรูปน้ำยางเป็นยางแผ่นดิบยังคงใช้แบบเดิมที่ใช้น้ำกรด เพื่อให้น้ำยางแข็งตัว จากนั้นก็นำไปรีดเป็นยางแผ่นและผึ่งให้แห้งเพื่อเตรียมรมควันหรือขายให้กับ พ่อค้าต่